ก.แรงงาน มุ่งลดการประสบอันตรายของลูกจ้ าง สร้างเครือข่ายความปลอดภั ยการทำงาน
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
กระทรวงแรงงาน จัดโครงการเสริมสร้างความเข้ มแข็งเครือข่ายความปลอดภั ยในการทำงาน มุ่งส่งเสริม การรวมกลุ่มเจ้าหน้าที่ ความปลอดภัย (จป.) พัฒนาศักยภาพเครือข่ ายความปลอดภัยให้มีประสิทธิภาพ
พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน กล่าวในฐานะประธานในพิธีเปิ ดงานว่า กระทรวงแรงงานให้ความสำคัญกั บการดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน โดยมีนโยบายหลัก ๓ ประการ คือ ๑) สร้างการรับรู้และจิตสำนึกด้ านความปลอดภัยฯ ๒) เคร่งครัดการบังคับใช้กฎหมายเพื่ อให้เกิดความปลอดภัยฯ และ ๓) สร้างกลไกประชารัฐในการดำเนิ นการด้านความปลอดภัยฯ ผ่านกลยุทธ์การจัดการภายใต้ แผนแม่บทความปลอดภัยอาชีวอนามั ยและสภาพแวดล้อมในการทำงานแห่ งชาติ และแผนยุทธศาสตร์ การขับเคลื่อนระเบียบวาระแห่ งชาติ “แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามั ยดี” ตลอดจนสร้างกลไกการดำเนินงานให้ เอื้อต่อการดูแลกลุ่มเป้ าหมายในระดับพื้นที่ ที่เชื่อมโยงและสอดรั บแนวนโยบายรัฐบาลและแผนยุ ทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง กลไกสำคัญในการขับเคลื่ อนความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้ อมในการทำงานของประเทศ คือ เจ้าหน้าที่ความปลอดภั ยในการทำงาน ซึ่งพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. ๒๕๕๔ กำหนดให้นายจ้างต้องจัดให้มีเจ้ าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน บุคลากร หน่วยงาน หรือคณะบุคคลเพื่อดำเนินการด้ านความปลอดภัยในสถานประกอบกิ จการให้ถูกต้องตามกฎหมาย ซึ่งปัจจุบันมีเจ้าหน้าที่ ความปลอดภัยในการทำงานขึ้นทะเบี ยนสะสมกับกระทรวงแรงงาน ทั้งสิ้น ๗๔๓,๙๕๖ คน แบ่งเป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภั ยในการทำงานระดับหัวหน้างาน
๕๑๔,๘๐๑ คน ระดับบริหาร ๑๘๔,๘๙๗ คน ระดับเทคนิค ๑๒,๑๖๙ คน
ระดับเทคนิคขั้นสูง ๒,๓๔๑ คน และระดับวิชาชีพ ๒๙,๗๔๘ คน ดังนั้น
เจ้าหน้าที่ความปลอดภั ยในการทำงานถือเป็นเครือข่ ายความปลอดภัยแรงงานที่สำคั ญในการผลักดันนโยบาย ด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามั ยของประเทศไทยบรรลุเป้าประสงค์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยื น
นายสุเมธ มโหสถ อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้